top of page

ใช้ชีวิตให้มีความสุข

Dr.Chutinan Choosai

ดร.ชุตินันท์ ชูสาย

IMG_5592_แก้ไข_แก้ไข.png

Education

วท.บ. (วิทยาศาสตรบัณฑิต) สาขา เกษตรศาสตร์ วิชาเอก โรคพืชวิทยา  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วท.ม. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) สาขา กีฏวิทยา กีฏวิทยา  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Ph.D. (Doctor of Philosophy) ความหลากหลายทางชีวภาพ Ecosystem diversity University of Pierre and Marie Curie  ฝรั่งเศส

                                  

Areas of Expertise

ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง เทคโนโลยีชีวภาพของแมลง โดยทำการวิจัยในด้านความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงต่อระบบนิเวศ กิจกรรมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีบทบาทในการปรับปรุงดินในระบบนิเวศ ตลอดจนประยุกต์ใช้การศึกษาทางชีวโมเลกุลของแมลงในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรู

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัย

ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย

- ชื่อแผนงานวิจัย: พันธุ์อ้อยทนทานต่อโรคใบขาวอ้อยและวิธีการป้องกันกำจัดแมลงพาหะนำเชื้อโรคใบขาวอ้อย

 

หัวหน้าโครงการวิจัย ชื่อโครงการวิจัย

- โครงการจัดสร้างฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของผีเสื้อในมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- การตรวจสอบประสิทธิภาพการเบียนหนอนกออ้อยและความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแตนเบียนไข่ Trichogramma spp. (Hymenoptera: Trichogrammatidae) ของหนอนกออ้อยเพื่อผลิตเป็นการค้า

- การศึกษาประสิทธิภาพการเบียนหนอนกออ้อยและความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแตนเบียนไข่ Trichogramma spp. (Hymenoptera: Trichogrammatidae) ที่มีการข้ามสายพันธุ์      

- ความหลากหลายของแมลงในสวนยางพาราที่มีการจัดการระบบการเกษตร

- การศึกษากิจกรรมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีบทบาทในการปรับปรุงดินในระบบนิเวศนาข้าว

- ความหลากหลายและกิจกรรมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดินในระบบนิเวศนาข้าว

- สถานการณ์โรคและแมลงศัตรูของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและการจัดการ

- การป้องกันกำจัดแมลงพาหะนำโรคใบขาวอ้อยโดยใช้สารเคมีและชีววิธี

- บทบาทของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดินในการเป็นตัวชี้วัดทางชีวภาพในระบบนิเวศพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชเขื่อนจุฬาภรณ์

- การควบคุมโรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อ Colletotrichum sp. และปลวกที่ก่อให้เกิดความ เสียหายต่อต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Publications

- ยุพา หาญบุญทรง  สกล พันธุ์ยิ้ม  ชุตินันท์ ชูสาย  พรทิพย์ วงศ์แก้ว  พิศาล ศิริธร และ ธวัช  ตินนังวัฒนะ.  2543.  การตรวจสอบทางอณูชีววิทยาของเชื้อไฟโตพลาสมา สาเหตุโรคใบขาวอ้อยในแมลงพาหะ (Matsumuratettix hiroglyphicus (Matsumura)) และแมลงพาหะที่มีแนวโน้มชนิดอื่น.  การประชุมวิชาการอ้อย และน้ำตาลแห่งชาติ ครั้งที่ 4 โรงแรมสีมาธานี จังหวัดนครราชสีมา.

- ยุพา หาญบุญทรง วรรณภา ฤทธิสนธิ์ และชุตินันท์ ชูสาย. 2548. การตรวจสอบเชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุโรคใบขาวอ้อยในเพลี้ยจักจั่นและการถ่ายทอดโรคโดยเทคนิคทางชีวโมเลกุล. วารสารวิจัย มข. 10(1): 13 – 21.

- ปิยฉัตร พลศรี ดวงรัตน์ ธงภักดิ์ และชุตินันท์ ชูสาย. 2556. ความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดินของข้าวนาปี จังหวัดขอนแก่น. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 14 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ณ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

- กิริยา สังข์ทองวิเศษ ชุตินันท์ ชูสาย นฤมล แก้วจำปา สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สันติไมตรี ก้อนคำดี และอนันต์ วงเจริญ. 2557. ผลของพืชแซมยางพาราต่อแบคทีเรีย ละลายฟอตเฟต และประสิทธิภาพการผลิตฮอร์โมน IAA. แก่นเกษตร 42(3): 368 – 373.

- นฤมล แก้วจำปา ชุตินันท์ ชูสาย สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สันติไมตรี ก้อนคำดี กิริยา สังข์ทองวิเศษ และอนันต์ วงเจริญ. 2557. ผลของพืชแซมยางพาราต่างชนิดกันต่อ ปริมาณธาตุอาหารและความอุดมสมบูรณ์ของดิน. แก่นเกษตร 42(3): 443 – 449.

 - จุรีมาศ วังคีรี ชุตินันท์ ชูสาย ยุพา หาญบุญทรง และจุฑามาส ฮวดประสิทธิ์. 2558. การทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมเพลี้ยจักจั่นพาหะนำโรคใบขาวอ้อย. การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ “งานวิจัยอ้อยและน้ำตาล” ณ ห้อง แกรนด์บอลรูม 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ. 

- ชุตินันท์ ชูสาย จุรีมาศ วังคีรี และยุพา หาญบุญทรง. 2558. การป้องกันกำจัดแมลงพาหะนำโรคใบขาวอ้อยโดยใช้สารเคมี. การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ “งานวิจัยอ้อยและน้ำตาล” ณ ห้องแกรนด์บอลรูม 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ.

- ทักษิณา ผุดผาด ชุตินันท์ ชูสาย และอนันต์ วงเจริญ. 2559. การควบคุมโรคใบจุดนูนและใบจุดก้างปลาของกล้ายางพารา (Hevea brasiliensis MÜll. Arg.) โดยชีววิธีด้วยการใช้เชื้อ Trichoderma spp. แก่นเกษตร 44 ฉบับพิเศษ 1: 225 – 231.

- ทักษิณา ผุดผาด ชุตินันท์ ชูสาย และอนันต์ วงเจริญ. 2559. ประสิทธิภาพของสารเคมีและเชื้อราเอนโดไฟต์ Trichoderma spp. ต่อการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคของยางพารา (Hevea brasiliensis MÜll. Arg.). แก่นเกษตร 44 ฉบับพิเศษ 1: 953 – 959.

- ชุตินันท์ ชูสาย อนันต์ วงเจริญ และยุพา หาญบุญทรง. 2561. การศึกษาความเสียหาย และลักษณะการเข้าทำลายของปลวกในต้นยางพารา จังหวัดขอนแก่น. แก่นเกษตร 46 ฉบับพิเศษ 1: 745 – 750.

- Wongkaew, P., Hanboonsong, Y., Sirithorn, P., Choosai, C., Boonkrong, S., Tinnangwattana, T., Kitchareonpanya, R., and Damak,  S. 1997. Differentiation of phytoplasma associated with sugarcane and gramineous weed white leaf disease and sugarcane grassy shoot disease by RFLP and sequencing. Theor. Appl. Genet. 95: 660 – 663.

- Hanboonsong, Y., Choosai, C., Panyim, S., and Damak, S. 2002. Transovarial transmission of sugarcane white leaf phytoplasma in the insect vector Matsumuratettix hiroglyphicus (Matsumura) . Insect Molecular Biology 11 (1): 97-104.

- Hanboonsong, Y., Ritthison, W., Choosai, C., Sirithorn, P. 2006. Transmission of

sugarcane white leaf phytoplasma by Yamatotettix flavovittatus, a new leafhopper vector. Journal of Economic Entomology 99: 1531 – 1537.

- Jouquet, P., Mathieu, J., Choosai, C., and Barot, S. 2007. Soil engineers as ecosystem heterogeneity drivers. In: Munoz, S.I. (Ed.). Ecology Research Progress. Hauppauge, New York, US: Nova Science Publishing, pp. 187 – 199.

- Jouquet, P., Hartmann, C., Choosai, C., Hanboonsong, Y., Bruner, D., and Montoroi, J.P. 2008. Different effects of earthworms and ants on soil properties of paddy fields in North-East Thailand. Paddy and Water Environment 6: 381 – 386.

- Choosai, C., Mathieu, J., Hanboonsong, Y., and Jouquet, P. 2009. Termite mounds and Dykes are biodiversity refuges in paddy fields in north-eastern Thailand. Environmental Conservation 36: 71 – 79.

- Choosai, C., Jouquet, P., Hanboonsong, Y., and Hartmann, C. 2010.  Effects of earthworms on soil properties and rice production in the rainfed paddy fields of Northeast Thailand. Applied Soil Ecology 45(3): 298 – 303.

- Jouquet, P., Traore, S., Choosai, C., Hartmann, C. and Bignell, D. 2011. Influence of termites on ecosystem functioning. Ecosystem services provided by termites. European Journal of Soil Biology 47: 215 – 222.

- Brauman A., Lafaye M., Perawatchara M., Gay F., Chompunut C., Robain H., Choosai C., Junrungreang S., Chantuma P., Trap J. and Nopmanee S. Impact  of rubber plantation on soil macrofauna biodiversity. 1st Asia Pacific Rubber Conference, 4-5 September 2013, Surat Thani, Thailand.

- Brauman A., Lafaye, Marin, Perawatchara M., Gay F., Chayawat, C., Robain H., Choosai C., Junrungreang S., Chantuma P., Trap J. and Nopmanee S., (2014) Impact of rubber plantation on soil macrofauna biodiversity, World Congress on Agroforestry, 10-12 February 2014, New Delhi, India. Oral presentation.

- Brauman A., Perawatchara M, Lafaye De Micheaux M., Nopmanee S., Choosai C., Robain H., Sebag D., Chevallier T., Abadie J., Trap J. and Gay F., (2014) Does afforestation of arable land with rubber tree improve soil functioning? a case study in a chronosequence of rubber plantation in Thailand. International Conference on Rubber 28-30 August 2014. Thaksin University, Phatthalung campus, Thailand.

- Kaewjampa, N., Choosai, C., Isarangkool Na Ayutthaya, S., Gonkhamdee, S., Sungthongwises, K., and Wongcharoen, A. 2015. Intercropping with rubber tree systems enhances soil carbon and nutrient. The 6th Scientific Meeting of Hevea Research Platform in Partnership. 7th – 9th October 2015. Khon Kaen

University, Khon Kaen, Thailand.

- Sanghaw, R., Boonthai Iwai, C., Choosai, C., and Vityakon, P. 2017. Initial contents of residue quality parameters predict effects of larger soil fauna on decomposition of contrasting quality residues. Agriculture and Natural Resources 51(5): 338 – 346.

- Peerawit, M., Blaud, A., Trap, J., Chevallier, T., Alonso, P., Gay, F., Thaler, P., Spor, A., Sebag, D., Choosai, C., Suvannang, N., Sajjaphan, K., and Brauman, A. 2018. Rubber plantation ageing controls soil biodiversity after land conversion from cassava. Agriculture, Ecosystems and Environment 257: 92 102.

bottom of page